ตัวแปรในภาษาไพทอนและตัวดำเนินการ

June 7, 2022, 4:10 a.m.
...

ภาษาไพทอนเป็นภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสำหรับผู้เริ่มต้นเขียนโปรแกรมไปจนถึงประยุกต์ใช้งานในระดับที่สูง  เนื่องจากเป็นภาษาที่มีโครงสร้างและไวยากรณ์ค่อนข้างง่าย ไม่ซับซ้อน ทำให้ง่ายในการทำความเข้าใจ

   ตัวดำเนินการที่ใช้ในการเขียนภาษาไพทอน

  1. ตัวแปรในภาษาไพทอน  (Variable)  คือชื่อในลักษณะคำภาษาอังกฤษที่ผู้เขียนโปรแกรมตั้งชื่อขึ้นมาเอง สำหรับใช้เก็บค่าข้อมูลต่างๆ  เพิ่อนำไปใช้งานในส่วนยต่างๆของโปรแกรม


  2. การตั้งชื่อตัวแปร

  1. ขึ้นต้นด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษ แล้วตามด้วยตัวอักษรหรือตัวเลขใดๆก็ได้
  2. ห้ามเว้นช่องว่าง และห้ามใช้สัญลักษณ์พิเศษนอกเหนือจาก underscore "_" เท่านั้น
  3. ตัวอักษรของชื่อจะคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างอักษรตัวพิมพ์ใหญ่กับตัวพิมพ์เล็ก
  4. การตั้งชื่อมีข้อพึงระวังว่า จะต้องไม่้ซ้ำกับคำสงวน (Reserved word, Keyword)
  5. ควรจะตั้งชื่อโดยให้ชื่อนั้นมีสื่อความหมายให้เข้ากับข้อมูล สามารถอ่านและเข้าใจได้
  6. ห้ามใช้เครื่องหมายต่อไปนี้ในการตั้งชื่อตัวแปร !,@, #, $, %, ^, &, *, (, ), -, =, \, |, +, ~
  7. ตัวแปรที่มีพิมพ์ใหญ่และตัวพิมพ์เล็กผสมกันจะมีความหมายต่างกัน กับตัวพิมพ์เล็กเพียงอย่างเดียว
ชื่อตัวแปร = ค่าที่เก็บไว้ในตัวแปร หรือนิพจน์ หรือตัวแปรอื่นๆ

  3. ชนิดข้อมูลของตัวแปร
เป็นการกำหนดประเภมข้อมูลของตัวแปรที่สร้างขึ้นมาว่า ข้อมูลนั้นมีลักษณะอย่างไร โดยชนิดข้อมูลที่มักจะใช้งานบ่อย ได่แก่ ข้อมูลชนิดตัวเลข จำนวนเต็ม จำนวนจริง อักขระ หรือข้อความ

  1.  ข้อมูลชนิดตัวอักษร (Character) คือ ข้อมูลที่เป็นรหัสแทนตัวอักษรหรือค่าอักขะ  
  2. ข้อมูลชนิดข้อความ(string) คือชนิดข้อมูลที่เก็บชุดตัวอักขะตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป                                                              3. ข้อมูลชนิดจำนวนเต็ม (Integer)  คือข้อมูลที่เป็นเลขจำนวนเต็ม  ได้แก่ จำนวนเต็มบวก จำนวนเต็มลบ ศูนย์ ใช้พื้นที่ในการเก็บ 2 ไบต์                   
  4. ข้อมูลชนิดเลขทศนิยม (Float) คือข้อมูลที่เป็นเลขทศนิยม ขนาด 4 ไบต์   


  4. ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ (Operator)


  5. ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ 

คือ ตัวดำเนินการสำหรับเปรียบเทียบค่า ซึ่งผลลัพธ์การเปรียบเทียบจะได้ค่าเป็นจริง (True) หรือเท็จ (False) เท่านั้น ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ มีดังนี้